ส่วนประกอบของเลื่อยลันดา มีอะไรบ้าง

ส่วนประกอบของเลื่อยลันดา มีอะไรบ้าง

เลื่อยลันดา

 

             เลื่อยเป็นเครื่องมือตัดที่มีใบมีดเหล็กเทมเปอร์ (tempered-steel ) ที่มีฟันแหลม เนื่องจากเหล็กมีราคาถูกขึ้นรูปง่ายและแข็งแรงมากจึงมีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับเลื่อยส่วนใหญ่
            Tempering (การอบคืนตัว) คือ การอบเหล็กที่อุณหภูมิต่ำเพื่อให้เหล็กมีคุณสมบัติเหมาะในการใช้งานภายหลังจากการชุบแข็งเพื่อลดความเค้น เพิ่มความเหนียว ลดความเปราะลง

           ส่วนประกอบของเลื่อยลันดา
• มือจับ เป็นจุดที่เราจับในการใช้งานก่อนนั้นทำมาจากไม้ แต่ตอนนี้ทำจากวัสดุหลากหลายประเภท โดยมีใบเลื่อยจะเสียบแล้วยึดด้วยสกรู
• ส้นเลื่อย คือ จุดที่กว้างที่สุดขอใบเลื่อยและยึดติดกับมือจับ
• ปลายเลื่อย คือ จุดที่แคบที่สุดขอใบเลื่อย
• สันเลื่อย คือ จุดด้านบนสุดของใบเลื่อย (ตรงข้ามกับฟันเลื่อย)
• ฟันเลื่อย คือ จุดที่จะตัดไม้ เป็นแหลมเล็กๆ อยู่ระหว่างสันกับปลายเลื่อย ตรงข้ามกับสันเลื่อย

 

           นอกจากนี้ยังมีการเลือกชื่อต่างๆที่เกี่ยวข้องกับฟันเลื่อยคือ


• โคนฟันเลื่อย คือ จุดต่ำสุดของร่องฟันเลื่อย
• ยอดฟันเลื่อย คือ จุดสูงสุดของฟันเลื่อย
• ความสูงฟันเลื่อย คือ ระยะจากโคนฟันถึงยอดฟัน
• ร่องฟันเลื่อย คือ ระยะห่างระหว่างฟันเลื่อย


          การวัดความถี่ของฟันบนใบเลื่อย (จำนวนฟัน)

           - บอกเป็นจุดต่อ 1 นิ้ว (Points per inch (25 mm)) คือ การวัดที่ยอดฟัน (จุดสูงสุด) หนึ่งไปยังอีกยอดฟันหนึ่งที่ความยาว 1 นิ้ว (25 มิลลิเมตร) แล้วนับจำนวนยอดฟันที่ความยาว 1 นิ้ว (25 มิลลิเมตร) โดยทั่วไป จุดที่บอกนี้จะมีค่ามากกว่าฟันเลื่อยอยู่ 1 ฟัน เช่น เลื่อย 7 จุด จะมีฟันเลื่อยเท่ากับ 6 ฟัน

 


           - บอกเป็นจำนวนฟันต่อนิ้ว (Teeth Per inch ; TPI) คือ การวัดที่ร่องฟันหนึ่งไปยังอีกร่องฟันหนึ่งที่ความยาว 1 นิ้ว (25 มิลลิเมตร) แล้วนับจำนวนยอดฟันที่ความยาว 1 นิ้ว (25 มิลลิเมตร) เช่น เลื่อย 7 TPI จะมีฟันเลื่อยเท่ากับ 7 ฟัน
 

Top Posts

10 ยี่ห้อสีปูน ลอฟท์  loft ทำผนังปูน loft DIY ได้เองง่าย

10 ยี่ห้อสีปูน ลอฟท์ loft ทำผนังปูน loft DIY ได้เองง่าย

10 ยี่ห้อ ผลิตภัณฑ์ ปูน สี ที่หาซื้อได้ เพื่อนำมาทำบ้าน ผนังปูน loft DIY ได้เองง่าย

อิฐมอญ อิฐมวลเบา อิฐบล็อก อิฐเซรามิก เปรียบเทียบต้นทุนว่าใครคุ้มกว่ากัน

อิฐมอญ อิฐมวลเบา อิฐบล็อก อิฐเซรามิก เปรียบเทียบต้นทุนว่าใครคุ้มกว่ากัน

ในการก่อสร้างบ้านหรืออาคารต่างๆ อิฐคือวัสดุหนึ่งที่ขาดไม่ได้ในการนำมาเป็นส่วนประกอบในการก่อสร้าง อิฐก็มีอยู่หลายชนิดหลายประเภท จึงต้องมีการตัดสินใจว่าจะเลือกใช้ประเภทไหนดี

การเลือกใช้หินชนิดต่างๆในการก่อสร้าง

การเลือกใช้หินชนิดต่างๆในการก่อสร้าง

หินที่ใช้ในการก่อสร้างมีมากมายหลายชนิด ที่เราคุ้นตากันก็จะมีหินเบอร์ 1 ที่นำมาผสมปูนกัน หินคลุก หินลูกลัง

วิวัฒนาการของบ้านแต่ละยุคสมัยในเมืองไทยตั้งแต่อดีต

วิวัฒนาการของบ้านแต่ละยุคสมัยในเมืองไทยตั้งแต่อดีต

แบบบ้านเรือนไทยมีใช้มาตั้งแต่สมัยอยุธยา จนถึง สมัยรัชกาลที่ 3 จะเป็นบ้านที่ทำด้วยไม้ทั้งหลัง ยกสูงมีใต้ถุน มีเสาต้นใหญ่ๆ

ระหว่าง หลังคากระเบื้องลอนคู่ กับ หลังคาเมทัลชีท เลือกแบบไหนดีกว่ากัน

ระหว่าง หลังคากระเบื้องลอนคู่ กับ หลังคาเมทัลชีท เลือกแบบไหนดีกว่ากัน

กระเบื้องลอนคู่ VS หลังคาเมทัลชีท เริ่มมีการจับคู่เปรียบเทียบกันอยู่บ่อยๆของคนที่จะสร้างบ้าน หรือต่อเติมซ่อมแซมบ้าน

Categories

Recent Posts

เสาประเภทต่างๆที่เราพบเห็นโดยทั่วไป

เสาประเภทต่างๆที่เราพบเห็นโดยทั่วไป

เสา ทำหน้าที่รับน้ำหนักต่างๆของโครงสร้างอาคารที่ถ่ายเทลงเสา

หลังคาเหล็กเซรามิก CERAMIC METAL ROOF คืออะไร

หลังคาเหล็กเซรามิก CERAMIC METAL ROOF คืออะไร

ในปัจจุบันหลังคาที่นิยมนำมาใช้กันมากที่สุดคือหลังคามทัลชีท ถึงแม้จะมีข้อดีเรื่องน้ำหนักเบา แต่มีข้อเสียเยอะ หลังคาเหล็กเซรามิก CMR คือหลังคาที่แผ่นด้านบนเคลือบด้วยเม็ดเซรามิก ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยแก้ปัญหาของแก้ปัญหาของหลังคามทัลชีท ที่เคยพบเจอ ไม่ว่าจะเรื่อง ความร้อน เสียงดังรบกวนขณะฝนตก ทั้งไม่มีรูปลอน ไม่สวย

นั่งร้านสำเร็จรูป 1 ชุดประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

นั่งร้านสำเร็จรูป 1 ชุดประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

นั่งร้านสำเร็จรูป 1 ชุดประกอบไปด้วย 1.โครงนั่งร้านหรือขาตั้ง จำนวน 2 ตัว 2.กากบาทหรือบางครั้งจะเรียกว่า ตะเกือบ จำนวน 2 ชุด 3.คานหรือฝาครอบ จำนวน 1 ตัว

ทรายในงานก่อสร้างมีกี่ ประเภท

ทรายในงานก่อสร้างมีกี่ ประเภท

ทรายเป็นวัสดุหลักที่ใช้ในงานก่อสร้างนั้น ส่วนมากเป็นทรายได้จากที่มาจากแม่น้ำ (ยังมีทรายอีกประเภทที่เขาเรียกว่า ทรายบก ก็คือทรายที่อยู่ใต้ดิน เป็นการขุดบ่อแล้วมีชั้นทรายในบ่อนั้น) ทรายเป็นวัสดุหลักที่ใช้ในงานก่อสร้างจะถูกแบ่งออกเป็น 4 ชนิด

ภายในที่ฉีดชำระ ปิด - เปิด อย่างไง

ภายในที่ฉีดชำระ ปิด - เปิด อย่างไง

การปิด – เปิด ที่ฉีดชำระนั้นจะอาศัยแรงดันสปริงและแรงกดจากมือเรา ปกติน้ำจะอยู่ภายในเสื้อของที่ฉีดชำระตลอดเวลา